งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล และการศึกษาบุตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล และการศึกษาบุตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล และการศึกษาบุตร

2 ค่ารักษาพยาบาล “การรักษาพยาบาล” หมายความว่า การฟื้นฟูสมรรถภาพที่ จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ให้หมายความรวมถึงการตรวจสุขภาพ การเสริมสร้างสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อประโยชน์ด้านสาธารณสุข แต่ไม่รวมถึงการเสริมความงาม

3 “ค่ารักษาพยาบาล” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ รักษาพยาบาล ดังต่อไปนี้
1. ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือดหรือสารทดแทน ค่าน้ำยาหรืออาหารทาง เส้นเลือด ค่าออกซิเจน และอื่นๆ ทำนองเดียวกันที่ใช้ในการบำบัดรักษาโรค 2. ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซมอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ดังกล่าว 3. ค่ารักษาทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าวิเคราะห์โรค แต่ไม่รวมถึงค่าธรรมเนียมแพทย์พิเศษค่าจ้างพยาบาลพิเศษ ค่าธรรมเนียมพิเศษ และค่าบริการอื่นทำนองเดียวกันที่มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนพิเศษ

4 4. ค่าตรวจครรภ์ ค่าคลอดบุตรและการดูแลหลังคลอดบุตร
5. ค่าห้องและค่าอาหาร ตลอดระยะเวลาที่เข้ารับการรักษาพยาบาล 6. ค่าใช้จ่ายเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพและการป้องกันโรค 7. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 8. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นแก่การรักษาพยาบาลตามที่กระทรวงการคลัง กำหนด

5 สิทธิเกิดขึ้นเมื่อใด มีสิทธิตั้งแต่ : ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ
สิทธิเกิดขึ้นเมื่อใด มีสิทธิตั้งแต่ : ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ วันที่เข้ารับราชการ ข้าราชการบำนาญ วันที่เริ่มรับบำนาญ ข้าราชการบำนาญที่เปลี่ยนสถานภาพ วันที่เริ่มรับบำนาญ สิ้นสุดเมื่อ : วันที่พ้นจากการเป็นข้าราชการและลูกจ้างประจำทุกกรณี ลาออก (รับราชการไม่ถึง10ปี ) เกษียณอายุราชการ (รับบำเหน็จ) พักราชการ (คดีถึงที่สุดให้ออกจากราชการ) ไล่ออก เสียชีวิต บุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ : อิงการเกิดสิทธิและหมดสิทธิของผู้มีสิทธิ

6 บุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ
ใครบ้าง...ที่มีสิทธิ เบิกค่าพยาบาล ผู้มีสิทธิ บุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ 1. ข้าราชการ คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรส) 2. ลูกจ้างประจำเงิน 2. บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย งบประมาณแผ่นดิน บิดา มารดา ที่ชอบด้วย กฎหมาย 3. ข้าราชการบำนาญที่เกษียณ/ข้าราชการ บำนาญที่เปลี่ยนสถานภาพ กรณีผู้มีสิทธิมีบุคคลในครอบครัวเป็นผู้มีสิทธิเช่นเดียวกัน ให้ต่างฝ่ายใช้สิทธิเบิกเงินของตนเอง

7 บิดา มารดา คู่สมรส บุตร

8 การใช้สิทธิบิดาเบิกค่ารักษาพยาบาล – บุตร
1. เป็นบุตรที่เกิดในระหว่างการสมรส (จดทะเบียนสมรส) ให้ถือเป็นบุตร ชอบด้วยกฎหมายของบิดา 2. เป็นบุตรเกิดนอกสมรส (ระหว่างที่บิดา มารดา ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน) จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดาเมื่อ บิดา มารดาได้ทำการจดทะเบียนสมรสกันในภายหลัง บิดาจดทะเบียนรับรองบุตร คำพิพากษาของศาลให้เป็นบุตรของตน ทั้งนี้ผลของความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายจะย้อนหลังไปจนถึงวันที่บุตรเกิด หลักฐานอ้างอิง : - สูจิบัตร หรือทะเบียนสมรส - ทะเบียนรับรองบุตร - คำสั่งศาล

9 การใช้สิทธิเป็นมารดา
1. กรณีมารดาเป็นผู้มีสิทธิ : เด็กที่เกิดจากผู้เป็นมารดาผู้ให้กำเนิดย่อม เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้นเสมอไม่ว่ากรณีใดๆ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546) หลักฐานอ้างอิง : สูติบัตร หรือ ทะเบียนบ้านของบุตร

10 มาตรา 19 เมื่ออายุครบ 20 ปี บริบูรณ์
การพิจารณาการบรรลุนิติภาวะของบุตร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แบ่งเป็น 2 กรณี มาตรา 19 เมื่ออายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ มาตรา 20 จากการจดทะเบียนสมรส (กฎหมายให้จดทะเบียน ) สมรสได้เมื่ออายุครบ 17 ปี บริบูรณ์ หรือ

11 การนับลำดับบุตร ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของบุตรได้เพียง คนที่ 1 ถึงคนที 3 ถ้าคนที่ 3 เป็นแฝดให้มีสิทธิถึงคนสุดท้าย ถ้ามีบุตรเกิน 3 คน ต่อมาบุตรคนที่ 1ถึง 3 ที่มีสิทธิเบิกอยู่ มีคน ใดคนหนึ่ง ตายลงก่อนจะบรรลุนิติภาวะ ให้นำบุตรลำดับถัดไปมาใช้ สิทธิเบิก การนับให้นับเรียงลำดับการเกิดก่อน – หลัง ไม่ว่าจะเกิดจาก การสมรสครั้งใด

12 ตัวอย่าง นาย จ. + นาง ต. จดทะเบียนสมรส บุตร 5 คน บุตรที่มีสิทธิเบิก
บุตร 5 คน 1. น.ส. ดาว อายุ 18 ปี 2. น.ส. เดือน อายุ 16 ปี 3. นายดิน อายุ 14 ปี 4. นายฟ้า อายุ 14 ปี 5. ด.ช. เก่ง อายุ 10 ปี ถ้า น.ส. เดือน เสียชีวิตในขณะที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นาย ก. ไม่มีสิทธิเบิกของด.ช. เก่ง ซึ่งเป็นบุตรในลำดับถัดไปได้ เพราะบุตรที่ใช้สิทธิเบิกครบ 3 คนแล้ว บุตรที่มีสิทธิเบิก คือ ลำดับที่ 1-4 ฝาแฝด

13 การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลสาหรับบุตร
การใช้สิทธิเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลสาหรับบุตร กรณีเป็นผู้สิทธิทั้งบิดามารดา • ให้คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลสำหรับ บุตรทุกคนเพียงฝ่ายเดียว • ผู้ใช้สิทธิรับรองตนเองในแบบ • ถ้าคู่สมรสอยู่ต่างส่วนราชการผู้เบิกหรือต่างสังกัดหรือมีการเปลี่ยน ส่วนราชการหลังจากใช้สิทธิไปแล้ว ผู้ใช้สิทธิต้องขอให้ส่วนราชการ ของตน แจ้งการใช้สิทธิให้ส่วนราชการของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งทราบ ใช้แบบ • ส่วนราชการของคู่สมรสที่ได้รับแจ้ง ตอบรับตามแบบ 7133

14 จ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
ผู้มีสิทธิ : ข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ/ข้าราชการบำนาญที่เปลี่ยน สถานภาพ ลูกจ้างประจำเงินประมาณแผ่นดิน ขั้นตอนการดำเนินการ : 1. ผู้มีสิทธิตรวจสอบสิทธิจากหลักฐานข้อมูลกรมบัญชีกลาง ( 2. หากไม่พบข้อมูลให้ติดต่อส่วนราชการ (นายทะเบียน) ต้นสังกัดเพื่อทำประวัติ สิทธิประโยชน์ ไม่ต้องสำรองวงเงินจ่ายไปก่อน ครอบคลุมทุกโรค

15

16

17 การเบิกจ่าย (ไม่เข้าเกณฑ์ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต)
ค่าห้องและค่าอาหาร ไม่เข้าเกณฑ์ (ฉุกเฉินเร่งด่วน/ฉุกเฉินไม่รุนแรง) ทดรองจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ยื่นเบิกส่วนราชการต้นสังกัด ค่าอุปกรณ์และอวัยวะเทียม ค่ารักษาพยาบาลอื่น จ่ายจริงหนึ่งไม่เกิน 8,000 บาท ใบประเมินคัดแยก ผู้ป่วยฉุกเฉิน ใบเสร็จรังเงิน (ผู้ป่วยใน) ใบรับรองแพทย์ (หากใบประเมินไม่ได้ระบุระดับความฉุกเฉิน)

18 กองสวัสดิการรักษาพยาบาล กรมบัญชีกลาง
ต่อ 6854 , 4614, 4441

19 ใบเสร็จรับเงินเงินค่ารักษาพยาบาล
1. ผู้มีสิทธิยื่นใบเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล (พร้อมหลักฐานการรับเงินของ สถานพยาบาลต่อผู้บังคับบัญชาภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่ ปรากฏในหลักฐานการรับเงิน) ** กรณียานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ** ต้องมีหนังสือรับรองจากคณะกรรมการแพทย์ ระบุเหตุผลว่าเหตุใดจึงไม่สามารถใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติได้ จึงจำเป็นต้องใช้ยานอกบัญชียาหลักแทน ผู้เซ็นรับรองหนังสือ จะเซ็นกี่ท่านก็ได้ หรือเซ็นเพียงท่าน เดียวก็ได้ แต่ต้องเซ็นในนาม “คณะกรรมการแพทย์”

20 เคล็ดไม่ลับกับการเบิกค่าทำฟัน
ฟันเทียมถอดได้ทั้งขากรรไกรบน/ล่าง ชิ้นละ 3,000 บาท (รหัส9202) ฟันเทียมบางส่วนถอดได้ 1-5 ซี่ ชิ้นละ 1,500 บาท (รหัส 9204) ฟันเทียมทั้งปากถอนได้ บนและล่าง ชิ้นละ 6,000 บาท (รหัส 9203) ฟันเทียมบางส่วนถอดได้มากกว่า 5 ซี่ ชิ้นละ 2,000 บาท (รหัส 9205) เบิกจ่ายได้คนละ 1 รายการ ภายในระยะเวลา 5 ปี ฟันเทียม อัตราเบิกจ่าย ฟันเทียม อัตราเบิกจ่าย

21 เคล็ดไม่ลับกับการเบิกค่าทำฟัน
ครอบฟันน้ำนม ซี่ละ 600 บาท (รหัส9211) ครอบฟันแท้ ซี่ละ 3,000 บาท (รหัส 9212) สะพานฟันติดแน่น ซี่ละ 8,000 บาท (รหัส 9213) เดือยฟัน ซี่ละ 1,000 บาท (รหัส 9214) เบิกจ่ายได้คนละ 1 รายการ ภายในระยะเวลา 10 ปี ครอบฟัน อัตราเบิกจ่าย

22 ผิดระเบียบ/ หลักเกณฑ์ ที่พบ
ตัวอย่าง การเบิกจ่าย ผิดระเบียบ/ หลักเกณฑ์ ที่พบ นวดสุขสภาพ/ผ่อยคลาย นวดสุขสภาพ/ผ่อยคลาย อาหารเสริม อาหารเสริม ยาลด ความอ้วน การมีบุตรยาก การมีบุตรยาก เสริมสวย เสริมสวย

23

24

25

26

27

28

29

30 สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร
เงินบำรุงการศึกษา หมายความว่าเงินประเภทต่างๆที่สถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือที่กำกับมหาวิทยาลัยองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลองค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง หรือองค์การของรัฐบาล เงินค่าเล่าเรียน หมายความว่า เงินค่าธรรมเนียมการเรียน หรือค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึ่งสถานศึกษาของเอกชนเรียบเก็บ ตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ

31 สวัสดิการศึกษาบุตร บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ลำดับที่ 1-3 ยกเว้นบุตรแฝด อายุครบ 3 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 25 ปี บริบูรณ์ ยกเว้น บุตรบุญธรรม

32 ต้องยื่นเมื่อไร ผู้มีสิทธิ ผู้บังคับบัญชา ภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียนแต่ละภาค กรณีเรียกเก็บเงินเป็นชนรายภาคเรียน ภายใน 1 ปี นับแต่วันปิดภาคเรียนภาคต้นของปี การศึกษา กรณีที่เรียกเก็บเงินค่า การศึกษาครั้งเดียวตลอดปี

33 เอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการเบิกเงินสวัสดิการ การศึกษาบุตร
ใบเบิกเงินสวัสดิการการศึกษา ( แบบ 7223) โดยผู้มีสิทธิต้องกรอกแบบฟอร์ม ให้ครบถ้วนทุกรายการ ใบเสร็จรับเงินของสถานศึกษาที่แสดงรายการชื่อ/ที่อยู่ขอสถานศึกษา วัน เดือน ปี่ที่รับเงิน ชื่อ-สกุลนักเรียน ประจำปีการศึกษา รายการรับเงิน ระบุว่าเป็นค่าอะไร จำนวนทั้งตัวเลขและตัวอักษร และรายมือชื่อผู้รับเงิน ข้อบังคับหรือประกาศของสถานศึกษาให้เรียกเก็บเงินตามรายการที่ได้รับ อนุญาตให้เรียกเก็บ

34 ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษา/ค่าเล่าเรียน
รัฐบาล เอกชน (รับเงินอุดหนุน) 1. ระดับอนุบาล ปีละไม่เกิน 5,800 4,800 2. ระดับประถมศึกษา ปีละไม่เกิน 4,000 4,200 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปีละไม่เกิน 3,300 4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช ปีละไม่เกิน 3,200 5. ระดับอนุปริญญา ปีละไม่เกิน 13,700 แยกตามสายวิชา

35 ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียน
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง ค่ารักษาพยาบาลบุตร กับ ค่าเล่าเรียน ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียน 1. เบิกได้ตั้งแต่เกิดจนถึงบรรลุนิติภาวะ หมายถึง อายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ หรือจากการจดทะเบียน สมรส 1. เบิกได้ตั้งแต่อายุครบ 3 ปี บริบูรณ์ จนถึงอายุ ครบ 25 ปี บริบูรณ์ (ไม่ว่าบุตรจะทำงานแล้วหรือ จดทะเบียนสมรสแล้วก็ตาม 2. มีสิทธินำบุตรมาเบิกได้ไม่เกิน 3 คน ไม่ว่าจะ เป็นบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด 2. เหมือนกัน ไม่เกิน 3 คน 3. ต้องเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย 3. เหมือนกัน 4. ยื่นแบบ 7131 เพื่อขอเบิกได้ภายใน 1 ปี นับ จากวันที่ในใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาล 4. ยื่นแบบ 7223 เพื่อขอเบิกภายใน 1 ปี นับแต่ วันเปิดภาคเรียน แต่ละภาคหรือกรณีที่จ่ายปี ละ ครั้ง ก็ให้ยื่นภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียน แรก ถ้าเกินกำหนดก็หมดสิทธิเบิก

36

37

38 จบการนำเสนอ ขอบคุณคะ


ดาวน์โหลด ppt เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล และการศึกษาบุตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google